จิตรกรรมล้านนา พุทธประวัติ ทศชาติ ชาดกนอกนิบาต

ชาญคณิต อาวรณ์
ความนิยม : | จำนวนผู้เข้าชม : 314 ครั้ง
เลขเรียกหนังสือ : 759.9593 ช484จ 2563
สำนักพิมพ์ : มิวเซียมเพรส
ปีที่พิมพ์ : 2563
จำนวนหน้า : 328 หน้า

เรียนรู้ เข้าใจจิตรกรรมพุทธศาสนาที่เขียนขึ้นในวัดทั่วล้านนา อันเป็นมรดกล้ำค่าที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตและแนวคิดพุทธศาสนาของคนล้านนา โดยอธิบายถึงที่มา คติ ความหมาย รูปแบบ ช่างเขียน พร้อมทั้งรวบรวมแหล่งจิตรกรรมสำคัญในล้านนาที่พบในวัดต่าง ๆ ทั่วล้านนากว่า 40 แห่ง เช่น วัดภูมินทร์ จ.น่าน วัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่ เป็นต้น ที่สำคัญในหนังสือเล่มนี้ยังนำเสนอภาพจิตรกรรมล้านนาแห่งสำคัญมารวมไว้จำนวนมาก โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ คือ พุทธประวัติ ทศชาติชาดก เวสสันดรชาดก และชาดกนอกนิบาต

บาร์โค้ด เล่มที่ / ฉบับที่ สถานที่จัดเก็บ สถานะ
P0210584 P-ห้องสมุดประถมศึกษา อยู่บนชั้นวางหนังสือ  เข้าสู่ระบบ 
แชร์ข้อมูลไปยัง :
0

MARC Information

245 a : ชื่อเรื่อง (Title) 
จิตรกรรมล้านนา พุทธประวัติ ทศชาติ ชาดกนอกนิบาต 
100 a : ชื่อผู้แต่ง (Author) 
020 a : ISBN 
9786167674193 
050 a : เลขผู้แต่ง (Author ID) 
050 b : ปีที่พิมพ์ (Publish year) 
2563 
260 a : สถานที่พิมพ์ 
นนทบุรี 
260 b : สำนักพิมพ์/โรงพิมพ์ 
มิวเซียมเพรส 
300 a : จำนวนหน้า 
328 
300 b : ภาพประกอบ 
ภาพประกอบสี 
300 c : ลักษณะรูปร่าง (ขนาด) 
21 ซม. 
505 a : สารบัญสมบูรณ์ 
1.เกริ่นนำ -- ภูมิหลังล้านนา -- วรรณกรรมพุทธศาสนา "เนื้อเรื่อง" -- ของจิตรกรรมล้านนา ; พุทธประวัติ ; นิบาตชาดก ; ทศชาติชาดกและเวสสันดรชาดก ; ชาดกนอกนิบาต -- 2.จิตรกรรมล้านนา : คติ รูปแบบ ; จิตรกรรมในกรุเจดีย์ ; จิตรกรรมในอาคารหลังคาคลุม ; จิตรกรรมวรรณกรรมพุทธภาพที่สร้างให้ดู ; จิตรกรรมบนผืนผ้า ; จิตรกรรมผ้าพระบฏในพิธีกรรมเลี้ยงผีปู่แสะและย่าแสะ -- รูปแบบสกุลช่างจิตรกรรมในล้านนนา ; กลุ่มงานอิทธิพลศิลปะพม่า-ไทใหญ่ ; จิตรกรรมบนผืนผ้าแบบพม่าชิ้นสำคัญที่ เชียงคำ จ.พะเยา ; กลุ่มงานผสมผสานศิลปะพม่า-ไทใหญ่ล้านนาและรัตนโกสินทร์ ; กลุ่มงานศิลปะรัตนโกสินทร์ ; กลุ่มงานศิลปะสมัยใหม่แนวสมจริงตามปรัมปราคติ ; จิตรกรรม "ความกลัว-ความหวัง" เครื่องมือกำกับชีวิตคน -- 3.แหล่งจิตรกรรมสำคัญในล้านนา -- จังหวัดเชียงใหม่ ; วัดพระสิงห์ฯ ; วัดป่าแดด ; วัดบวกครกหลวง ; วัดท่าข้าม ; วัดปราสาท ; วัดเสาหิน ; วัดบุพพาราม ; วัดชัยมงคล ; วัดอุปคุต ; วัดสันป่าข่อย ; วัดชัยพระเกียรติ ; วัดพระธาตุดอยสุเทพฯ ; วัดเมืองมาง ; วัดทรายมูล(พม่า) -- จังหวัดลำพูน ; วัดพระยืน ; วัดพระธาตุหริภุญชัยฯ -- จังหวัดลำปาง ; วัดพระธาตุลำปางหลวง ; วัดนาแส่ง ; วัดแสงเมืองมา ; วัดนาคตหลวง ; วัดปงสนุกเหนือ ; วัดลำปางกลางตะวันออก ; วัดห้วยแหน ; วัดบุญวาทย์วิหาร ; วัดไชยาทุ่งล้อม ; วัดช้างเผือก ; วัดเกาะวาลุการาม ; วัดอุมลอง ; วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม ; วัดท่าแหน ; วัดบ้านก่อ ; วัดทุ่งฝูง ; วัดพระธาตุจอมปิง ; วัดช่างแต้ม ; วัดสบลี -- จังหวัดพะเยา ; วัดหลวงราชสัณฐาน ; วัดบุญยืน ; วัดแม่สุก ; วัดเชียงหมั้น -- จังหวัดเชียงราย ; วัดเจ็ดยอด ; วัดป่าซางหลวง -- จังหวัดน่าน ; วัดภูมินทร์ ; วัดหนองบัว -- จังหวัดแพร่ ; วัดต้าม่อน -- 4.เล่าเรื่อง พุทธประวัติผ่านจิตรกรรมล้านนา ; อภิเษกสมรส เจ้าชายสุทโธทนะกับพระนางสิริมหามายา ; อัญเชิญพระโพธิสัตว์จุติ ; สุบินนิมิต ; ประสูติ ; กาลเทวิลดาบสเยี่ยมพระกุมาร ; อัญเชิญพราหมณ์ทำนายพระกุมาร ; พระนางมหาปชาบดีโคตมีอภิบาลเจ้าชายสิทธัตถะ ; เจ้าชายสิทธัตถะเข้าปฐมฌาน ; สร้างปราสาท 3 ฤดู ; เจ้าชายสิทธัตถะประลองศร ; วิวาหมงคล ; พบเทวทูตทั้ง 4 ; อารมณ์สังเวช ; เยี่ยมพระนางพิมพาและพระราหุล ; เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ; เสด็จปลงพระเกศาฯ ; เสด็จกรุงราชคฤห์-พระเจ้าพิมพิสารเข้าเฝ้า ; ศึกษาที่สำนักอาฬารดาบสและอุททกดาบสรามบุตร ; บำเพ็ญทุกรกิริยา ; นางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาส ; ลอยถาดอธิษฐาน ; ทรงรับหญ้าคาฯ ; มารผจญ ; สัตตมหาสถาน ; พบอุปกาชีวก ; ปฐมเทศนา ; พบยสกุลบุตร ; โปรดเหล่าชฎิล ; เหล่าชฎิลออกบวช ; พระเจ้าพิมพิสารสร้างเวฬุวันฯ ; พระสารีบุตรบรรลุอรหันต์ ; โปรดพระประยูรญาติฯ ; พิมพาพิลาป ; เจ้าชายนันทะเถระรับบาตร ; บรรพชาพระราหุล ; พระเทวทัตลอบทำร้ายพระพุทธองค์ ; ธรณีสูบพระเทวทัต ; นางวิสาขาถวายบุพพาราม ; ถวายพระเพลิงพระราชบิดา ; อุปสมบทภิกษุณี ; แสดงยมกปาฏิหาริย์ ; เสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ; ปาลิไลยก์ ; โปรดองคุลิมาล ; ฉันสุกรมัททวะ ; เริ่มประชวร ; ประชวร-ปรินิพพาน ; ถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ; แบ่งพระบรมสารีริกธาตุ -- 5.เล่าเรื่อง ทศชาติชาดกผ่านจิตรกรรมล้านนา ; เตมิยชาดก ; มหาชนกชาดก ; สุวรรณสามชาดก ; เนมิราชชาดก ; มโหสถชาดก ; ภูริทัตตชาดก ; จันทกุมารชาดก ; มหานารถกัสสปชาดก ; วิธุรบัณฑิตชาดก -- 6.เล่าเรื่อง เวสสันดรชาดกผ่านจิตรกรรมล้านนา ; ทศพร ; หิมพานต์ ; ทานกัณฑ์ ; วนประเวศน์ ; ชูชก ; จุลพน ; มหาพน ; กุมารบรรพ์ ; มัทรี ; สักกบรรพ์ ; มหาราช ; ฉกษัตริย์ ; นครกัณฑ์ -- 7.เล่าเรื่อง ชาดกนอกนิบาตผ่านจิตรกรรมล้านนา ; คัทธณะกุมาร ; ก่ำกาดำ ; หงส์หิน ; บัวระวงศ์หงส์อำมาตย์ ; สังข์ทอง ; สุวรรณหงส์ ; จันทฆาตชาดก 
520 a : บทคัดย่อ/เรื่องย่อ 
เรียนรู้ เข้าใจจิตรกรรมพุทธศาสนาที่เขียนขึ้นในวัดทั่วล้านนา อันเป็นมรดกล้ำค่าที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตและแนวคิดพุทธศาสนาของคนล้านนา โดยอธิบายถึงที่มา คติ ความหมาย รูปแบบ ช่างเขียน พร้อมทั้งรวบรวมแหล่งจิตรกรรมสำคัญในล้านนาที่พบในวัดต่าง ๆ ทั่วล้านนากว่า 40 แห่ง เช่น วัดภูมินทร์ จ.น่าน วัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่ เป็นต้น ที่สำคัญในหนังสือเล่มนี้ยังนำเสนอภาพจิตรกรรมล้านนาแห่งสำคัญมารวมไว้จำนวนมาก โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ คือ พุทธประวัติ ทศชาติชาดก เวสสันดรชาดก และชาดกนอกนิบาต 
650 a : หัวเรื่องทั่วไป (หัวเรื่องหลัก) 
650 a : หัวเรื่องทั่วไป (หัวเรื่องหลัก) 
999 a : Shelf color (Staff) 
P-301(Black) 
999 c : ผู้ทำรายการ (Staff) 
P-301 

ไม่มีความคิดเห็น

  1. ยังไม่มีความคิดเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ หากคุณยังคงใช้ไซต์นี้ต่อไปหมายความว่าคุณยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไขและนโยบายความเป็นส่วนตัว